ค้นหา หัวข้อธรรมต่างๆในกระดานธรรมหน้านี้ คลิกขวาเมนู กลับมาที่ช่องค้นหาได้ |
คลิกขวาเมนู |
เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง ต้องอ่านถ้าอยากเข้าใจปฏิจจสมุปบาทโดยบริบูรณ์ ปฏิจจสมุปบาท โดยย่อ ฉบับย่อสั้นเป็นที่สุด
๑. สังขารขันธ์ ในขันธ์ ๕ สิ่งน่ารู้เกี่ยวกับสังขารขันธ์ในขันธ์ ๕ ความรู้เกี่ยวกับสังขารขันธ์ที่ทำให้เกิดการกระทำต่างๆ ทั้งดี ชั่ว และแม้กลางๆในการดำเนินชีวิต ไมใช่สังขารร่างกาย
๑.๑ วิธีดับสังขารขันธ์อันเป็นทุกข์ อย่างถูกต้อง ได้ผลโดยพิจารณาจากหลักปฏิจจสมุปบาท
๒. การอุเบกขา การวางใจเป็นกลาง วางใจเฉย เมื่อสติเห็นเหตุอันควรคืออารมณ์หรือสิ่งที่ทำให้จิตเศร้าหมอง เช่น โลภะ โทสะ ฯ.
๓. ถึงแม้อุเบกขาแล้วก็ตาม แต่ว่า.......เป็นกลางวางใจเฉยไม่ได้ สาเหตุที่วางใจเป็นกลางไม่ได้ และวิธีเปลี่ยนอารมณ์อันเศร้าหมอง
๔. ธรรมะสอนใจจากพระอริยะเจ้า ธรรมข้อคิดจากพระอริยะเจ้า มีประโยชน์มากเมื่อนำไปพิจารณาโดยแยบคาย
๕. ขันธ์ทั้ง ๕ ทำงานโดยอิสระ ขันธ์ทั้ง ๕ ทำงานตามหน้าที่ตนเท่านั้น ล้วนเป็นอิสระจากเรา ไม่ขึ้นอยู่กับเราเลย จึงควบคุมบังคับเขาไม่ได้ ทั้งปุถุชนและพระอริยเจ้า
๖. มารู้จัก ธรรมชาติการทำงานของขันธ์ทั้ง ๕ มารู้จักธรรมชาติในการทำงานของขันธ์ ๕ เพื่อการดับทุกข์ จะได้ไม่ฝืนบังคับให้เขาทำในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ จึงไม่ได้ผล
๗. ภพ ในปฏิจจสมุปบาท หรือมโนสังขารที่ยังให้เกิดมโนกรรมในขันธ์ ๕ นั่นเอง
๘. เปรียบเทียบขันธ์ ๕ กับสังขารอื่นๆ อุปมาของขันธ์ ๕
๙. สังขารทั้งปวง ความจริงของสังขารทั้งปวง
๑๐. เวทนาขันธ์ VS. สังขารขันธ์ ๑๐.๑. เวทนา แสดงการเกิดเวทนา เป็นการไล่ลำดับเหตุ ที่ทำให้เกิดตั้งแต่เบื้องตน
๑๑. ลักษณะหรือเครื่องกำหนดต่างๆที่แสดงความเป็น อนิจจัง, ทุกขัง, อนัตตา
๑๒. พิจารณาในอนิจจลักขณะ ทุกขลักษณะ และอนิจจลักษณะ ของสังขารต่างๆรวมทั้งขันธ์ ๕
๑๓. ความจริง มีแต่ทุกข์เท่านั้นที่เกิด ทุกข์ย่อมตั้งอยู่ และเสื่อมสิ้นไป ทำไมจึงมีแต่ทุกข์เท่านั้นที่เกิด จึงต้องอยู่อย่างมีสติ และสัมปชัญญะ
๑๔. วิบากกรรม ทำไมจึงหนีวิบากกรรมไม่พ้น เมื่อทุกสิ่งล้วนเป็นอนัตตา ทำดีได้ดี เหนือกรรม
๑๕. ตัณหา คือ สังขารขันธ์ชนิดอกุศล ตัณหา คือสังขารขันธ์หรือไม่ และเป็นสังขารขันธ์เยี่ยงไร ใช่ความอยาก,ความปรารถนาแต่เพียงอย่างเดียวหรือไม่
๑๖. จากส่วนหนึ่งของ อนัตตลักขณสูตร แสดงขันธ์ ๕ ว่าเพราะไม่เที่ยง จึงเป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา
๑๗. โมหะ อย่างหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่งที่ทำให้หลง
๑๘. ธรรมารมณ์
๒๐. ราหุลสูตร โปรดแสดงธรรมแก่พระราหุลจนสำเร็จ
๒๑. ทุกข์ เป็นสังขารขันธ์เกิดจากอะไร ทำไมจึงเป็นอย่างเร่าร้อนและยาวนาน
๒๒. จิตทำงานทั้งในขณะที่หลับและตื่น จิตไม่เคยหลับไหล
๒๓. อุปาทาน VS สัญเจตนา ความแตกต่างระหว่างธรรมทั้ง ๒
๒๔. ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เมื่อไม่เข้าใจจึงเกิดความสงสัยว่า ทำดีไม่ได้ดี ทำชั่วได้ดีมีถมไป
๒๕. สัญญา VS ปัญญา ปัญญาเป็นสังขารขันธ์ในเจตสิก ๕๒ แต่จัดเป็นสัญญาอย่างหนึ่งไหม
๒๖. ทุกขเวทนาหรือทุกข์ที่พากันรังเกียจ หารู้ไม่ว่าถ้าไม่มีเสียจะอยู่ในโลกนี้ไม่ได้เลย (ปรับปรุง)
๒๗. ทุกข์ให้รู้ สมุทัยให้ละ ก็พอรู้อยู่ แต่ต้องทำอย่างไร? รู้อะไร? ละได้อย่างไร?
๒๘. ความจริงอันน่ารู้ยิ่งเกี่ยวกับ "ตัวกู ของกู"
๒๙. แสดงคิดนึกปรุงแต่ง ในวงจรปฏิจจสมุปบาท
๓๒. ดับอุปาทานหรือดับทุกข์ทั้งมวล
๓๓. ดับเวทนา ดับทุกข์ เป็นเพียงสำนวนพูด จึงพากันให้หลง
๓๔. มโนกรรม ธรรมารมณ์ และความคิดนึก สิ่งที่รู้ได้ด้วยใจเหมือนๆกัน แต่ทำหน้าที่ต่างกัน
๓๕. ไม่เอา ไม่ยึดมั่นถือมั่น ปล่อยวาง อุเบกขา
๓๖. สักว่า เพียงแต่ว่า....เท่านี้เอง
๓๗. ภาพแสดงกระบวนธรรมของขันธ์ทั้ง๕ ที่มักยังให้พลาดท่าเกิดทุกข์หรือการคิดนึกฟุ้งซ่าน จึงสามารถปรุงแต่งวนเวียนเป็นวงจรได้อย่างไม่รู้จบ
๓๘. วิธีเปลี่ยนอารมณ์ ให้ปล่อยวางจากอารมณ์ โกรธ หดหู่ เศร้าหมอง ฯ. อันรุนแรง เพื่อคลายความเร่าร้อน โดยวิธีกลั้นลม
๓๙. วิธีอุเบกขา โดยสรุปลัดสั้น
๔๐. ขันธ์ ๕ เป็นอนัตตา ไม่มีตัวตนของมันเองจริง แสดงเหตุต่างๆที่มาเป็นปัจจัยประกอบกันโดยละเอียด ทีละขั้น
๔๑. อะไร? ที่ทำให้"อุปาทานขันธ์ ๕" เกิดหมุนเวียนต่อเนื่องเป็นเหตุปัจจัยกันในวงจรของทุกข์ใน"ชรา"ได้
๔๒. ชีวิตนี้ ล้วนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
๔๓. อารมณ์ หรือสังขารขันธ์
๔๔. ธรรมะของพระพุทธเจ้า เป็นอกาลิโก
๔๕. กาลามสูตร พระสูตรแสดงถึง หลักแห่งความเชื่อที่พระองค์ท่านทรงวางไว้ให้แก่พุทธศาสนิกชน ไม่ให้เชื่ออะไรอย่างงมงาย โดยไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นจริงด้วยตนเองก่อน
๔๖. คำสอนของฮวงโป แปลโดยท่านพุทธทาส การบรรลุธรรมโดยฉับพลัน ๔๖.๑ อันเนื่องมาจากคำสอนของฮวงโป
๔๗. สูตรเว่ยหล่าง
๔๘. หยุดคิดนึกปรุงแต่ง เพื่อการบรรลุแบบฉับพลันเรียบง่าย ตามวิถีเซ็น อันเนื่องมาจากคำสอนของฮวงโป
๔๙. จิต กับ ใจ แตกต่างกันอย่างไร
๕๐. สังขาร แบบต่างๆ สังขารที่มีความหมายหลากหลายจนอาจเกิดความสับสน
๕๑. รวมคำสอนที่แสดงว่า ขันธ์ ๕ ไม่ใช่ของเรา เป็นอิสระจากเรา
๕๓. ทำไม หยุดคิดปรุงแต่ง จึงเป็นหัวใจสำคัญในการปฏิบัติของนิกายเซ็น
๕๔. วิธีปฏิบัติต่อทุกข์-สุข ๔ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)
๕๕. ดับเวทนา หรือ เวทนาดับ หมายถึงอย่างไร
๕๖. เจตนาแบบต่างๆในขันธ์ ๕ แสดงความหมายของ เจตนาแบบต่างๆในขันธ์ ๕
๕๗. เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง เพื่อการโยนิโสมนสิการในขันธ์ ๕ และปฏิจจสมุปบาท ให้ถูกต้อง
๕๘. พุทธศาสนามองเรื่องโหราศาสตร์ เทพเจ้า อย่างร? โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตฺโต)
๖๑. ความแตกต่างของสติและสมาธิ โดย สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ปยุตฺโต)
๖๒. สิ่งที่น่ารู้เกี่ยวกับสมาธิ และนิมิต อีกทั้งภวังค์ ที่เกิดขึ้นจาก"ฌาน, สมาธิ" โดย หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี๖๓. อุปาทานขันธ์ ๕
๖๔. ฝึกสติปัฏฐาน ๔ ด้วยจุดประสงค์อะไร
๖๖. จงทำญาณให้เห็นจิต ให้เหมือนดั่งตาเห็นรูป